คำถามก่อนเรียน





ดุลการค้าสมดุลหมายถึงอะไร?
  1. หมายถึง มูลค่าส่งออกเท่ากับมูลค่านำเข้า สมมุติในปีหนึ่ง ประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท ในขณะเดียวกันก็มีการสั่งสินค้าเข้ามา 10,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศสมดุลเท่ากับ 10,000 ล้านบาท เป็นต้น
  2. หมายถึง มูลค่าส่งออกน้อยกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามามีมูลค่าถึง 15,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศขาดดุลเท่ากับ 5,000 ล้านบาท เป็นต้น
  3. หมายถึง มูลค่าส่งออกมากกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามาเพียง 8,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศเกินดุลเท่ากับ 2,000 ล้านบาท เป็นต้น
  4. ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง บัญชีหรือรายการที่ แสดงการรับ และการจ่ายเงินตราต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินด้านอื่นๆ ของประเทศที่เกิดจากการติดต่อกับประเทศอื่นสนระยะเวลาหนึ่ง (ปกติมีระยะเวลา 1 ปี) ดุลการชำระเงินจะแสดงรายการรายรับและรายจ่ายในการนำสินค้าเข้าประเทศและส่งสินค้าออก ไปขายต่างประเทศ และรายรับรายจ่ายด้านอื่นๆ

ดุลการค้าขาดดุลหมายถึงอะไร

  1. หมายถึง มูลค่าส่งออกเท่ากับมูลค่านำเข้า สมมุติในปีหนึ่ง ประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท ในขณะเดียวกันก็มีการสั่งสินค้าเข้ามา 10,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศสมดุลเท่ากับ 10,000 ล้านบาท เป็นต้น
  2. หมายถึง มูลค่าส่งออกน้อยกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามามีมูลค่าถึง 15,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศขาดดุลเท่ากับ 5,000 ล้านบาท เป็นต้น
  3. หมายถึง มูลค่าส่งออกมากกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามาเพียง 8,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศเกินดุลเท่ากับ 2,000 ล้านบาท เป็นต้น
  4. ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง บัญชีหรือรายการที่ แสดงการรับ และการจ่ายเงินตราต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินด้านอื่นๆ ของประเทศที่เกิดจากการติดต่อกับประเทศอื่นสนระยะเวลาหนึ่ง (ปกติมีระยะเวลา 1 ปี) ดุลการชำระเงินจะแสดงรายการรายรับและรายจ่ายในการนำสินค้าเข้าประเทศและส่งสินค้าออก ไปขายต่างประเทศ และรายรับรายจ่ายด้านอื่นๆ

ดุลการค้าเกินดุลหมายถึงอะไร
  1. หมายถึง มูลค่าส่งออกน้อยกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามามีมูลค่าถึง 15,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศขาดดุลเท่ากับ 5,000 ล้านบาท เป็นต้น
  2. หมายถึง มูลค่าส่งออกมากกว่ามูลค่านำเข้า เช่น สมมุติในปีหนึ่งประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท แต่สั่งสินค้าเข้ามาเพียง 8,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศเกินดุลเท่ากับ 2,000 ล้านบาท เป็นต้น
  3. หมายถึง มูลค่าส่งออกเท่ากับมูลค่านำเข้า สมมุติในปีหนึ่ง ประเทศไทยส่งสินค้าออกไปขายได้ 10,000 ล้านบาท ในขณะเดียวกันก็มีการสั่งสินค้าเข้ามา 10,000 ล้านบาท ทำให้ประเทศไทยมีดุลการค้าระหว่างประเทศสมดุลเท่ากับ 10,000 ล้านบาท เป็นต้น
  4. ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง บัญชีหรือรายการที่ แสดงการรับ และการจ่ายเงินตราต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินด้านอื่นๆ ของประเทศที่เกิดจากการติดต่อกับประเทศอื่นสนระยะเวลาหนึ่ง (ปกติมีระยะเวลา 1 ปี) ดุลการชำระเงินจะแสดงรายการรายรับและรายจ่ายในการนำสินค้าเข้าประเทศและส่งสินค้าออก ไปขายต่างประเทศ และรายรับรายจ่ายด้านอื่นๆ

ลักษณะของดุลการชำระเงินมีกี่ลักษณะ?

  1. 2 ลักษณะ
  2. 3 ลักษณะ
  3. 4 ลักษณะ
  4. 5 ลักษณะ

อัตราการแลกเปลี่ยนที่เป็นอัตราทางการคืออะไร
  1. อัตราตลาด ( Market Rate ) คือ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่กำหนดขึ้นจากอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศที่อยู่ในภาวะดุลยภาพ
  2. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่กำหนดโดยเจ้าหน้าที่ทางการเงินของประเทศ เช่น ประเทศไทยเคยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนทางการเอาไว้ในอัตราดอลลาร์ละ 20 บาท เป็นต้น
  3. อัตราตลาดมืด ( Black Market Rate ) คือ อัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการกำหนดทางการไว้สูงกว่าอัตราตลาด
  4. ราคาของเงินตราประเทศ 1 หน่วย คิดเทียบกับเงินตราอีกสกุลหนึ่ง เช่น เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ มีค่าเทียบกับเงินบาทเท่ากับ 39บาทเป็นต้น



BACK
HOME
NEXT


Free Web Hosting